EVERYTHING ABOUT สารชีวภาพกำจัดโรคพืช

Everything about สารชีวภาพกำจัดโรคพืช

Everything about สารชีวภาพกำจัดโรคพืช

Blog Article

A: ใช้ร่วมกันไม่ได้ทุกชนิด ต้องศึกษารายละเอียดก่อนใช้ เนื่องจากจุลินทรีย์กำจัดแมลงบางชนิดอยู่ในกลุ่มเดียวกับจุลินทรีย์ควบคุมโรคพืช เช่น ไตรโคเดอร์มาและเมธาไรเซียม เป็นเชื้อราที่สามารถถูกกำจัดได้ด้วยสารเคมีกำจัดเชื้อราชนิดเดียวกัน

ควบคุมแมลงศัตรูพืชต่าง ๆ ในแปลงปลูก โดยเฉพาะหนอน และแมลงปากกัด

A: ไม่แนะนำให้เกษตรกรผลิตไตรโคเดอร์มาแบบน้ำเก็บไว้ใช้เอง ควรเก็บในรูปเชื้อสดไว้ในตู้เย็น เมื่อต้องการใช้จึงนำมาผสมน้ำตามอัตราแนะนำแล้วใช้เลยจะได้ผลดีกว่า เพราะโดยธรรมชาติของสปอร์ของเชื้อราพร้อมจะงอกเป็นเส้นใยเมื่อได้รับความชื้นสูงหรือการแช่อยู่ในน้ำ การนำเส้นใยของเชื้อราไปใช้จะให้ประสิทธิภาพควบคุมโรคค่อนข้างต่ำ เนื่องจากเส้นใยมีความอ่อนแอต่อสภาพแวดล้อมมากกว่าการใช้สปอร์

       - ใช้สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มา สำหรับโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา หรือเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส ซับทีลิส สำหรับโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

หากมีฝนตกชุก ให้ผสมสารจับใบ ดูแลระบบการให้น้ำในแปลงปลูก อย่าให้ชื้นแฉะจนเกินไป

คู่มือการเขียนรายงานผลงานวิจัย สอพ.

ฝากกดลิงก์เยี่ยมชมสินค้า เพื่อเป็นกำลังใจให้ทีมงานของเราด้วยนะคะ????

รถแทรกเตอร์อเนกประสงค์ขนาดเล็กซีรีส์ read more 3E

การจัดการโรคพืชด้วยวิธีชีวภาพ หมายถึง การใช้สิ่งมีชีวิตพวกจุลินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมายับยั้งหรือทำลายเชื้อโรค จนไม่ก่อให้เกิดความเสียหายกับพืช เชื้อจุลินทรีย์พวกนี้เรียกว่า เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ส่วนใหญ่ ได้แก่ เชื้อรา และเชื้อแบคทีเรีย  

สื่อประชาสัมพันธ์ ดิจิตอลไซแน๊กซ์ (แบนเนอร์สื่อสารภายในองค์กร)

มะเขือเทศพันธุ์ด้านทานโรคเหี่ยวจากเชื้อแบคทีเรีย (ขวา) และพันธุ์ที่อ่อนแอ (กลาง และซ้าย)

◾ในระยะกล้า ใบเลี้ยงเกิดเป็นจุดช้ำสีน้ำตาลหรือดำ ลำต้นเน่า ยุบตัว ทำให้พืชตายหรือแคระแกร็น ไม่เจริญเติบโต โดยอาการเริ่มแรกจะเกิดขึ้นที่ด้านใต้ใบ จะสังเกตเห็นกลุ่มผงสีขาวหรือเทาของสปอร์ และเส้นใยของเชื้อว่าเกิดขึ้นเป็นกลุ่มๆ ต่อมาด้านหลังใบตรงที่เดียวกัน ก็จะเกิดแผลสีเหลือง ๆ เนื่องมาจากเซลล์ตายขึ้นและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลในที่สุด เนื้อใบตรงที่เกิดแผลจะมีลักษณะบางและมีขอบเขตไม่แน่นอน แต่ค่อนข้างจะเป็นรูปเหลี่ยมในกรณีที่เป็นรุนแรง มีแผลเกิดจำนวนมากทั่วไป อาจทำให้ทั้งใบเหลืองและแห้งตาย สำหรับในใบอ่อนหรือใบเลี้ยง เมื่อเริ่มแผลสีเหลืองขึ้นที่ด้านหลังใบ ใบมักจะหลุดร่วงออกจากต้น ก่อนที่จะแสดงอาการมากกว่านี้ โรคในระยะกล้านี้มักจะรุนแรงทำให้ต้นโทรมอ่อนแอและอาจถึงตายได้

โรคพืชมีกี่ประเภท ตัวอย่างโรคพืชและวิธีป้องกัน

ปรับสภาพโรงเรือนให้โปร่ง ไม่ควรปลูกกล้วยไม้แน่นจนเกินไป

Report this page